
ศาสนาอิสลามสูบบุหรี่ไฟฟ้าได้ไหม ?
บทความทั้งหมด / ศาสนาอิสลามสูบบุหรี่ไฟฟ้าได้ไหม ?
บุหรี่ไฟฟ้า เป็นยาสูบที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไทย กระจายวงกว้างไปในทุกๆ สังคม ไม่เว้นในสังคมของชาวมุสลิม ทั้งนี้เพราะความไม่ชัดเจนในบทบัญญัติเกี่ยวกับบุหรี่ จึงมีความจำเป็นจะต้องศึกษาจุดยืนของอิสลามเกี่ยวกับบุหรี่ โดยใช้หลักฐานต่างๆ ของการกำหนดบทบัญญัติในอิสลามนักกฎหมายอิสลามที่เห็นว่าการสูบบุหรี่นั้นเป็นสิ่งต้องห้ามแต่ในเมื่อระยะเวลาได้เปลี่ยนแปลงไปได้เริ่มมีการอ้างว่าบุหรี่นั้นมีประโยชน์ในการรักษาโรคหลายโรคด้วยกัน ยังเป็นที่ถกเถียงกันว่า
บุหรี่ไฟฟ้าเป็นฮะรอม (ต้องห้าม) หรือไม่ ?
‘ฮะรอม’ ซึ่งในวัฒนธรรมอาหรับหมายถึงสิ่งที่ไม่เป็นที่ยอมรับหรือผิดกฎหมายในกฎหมายอิสลาม ฮะรอม (ต้องห้าม) ไม่ได้หมายถึงการบริโภคเท่านั้น แต่ยังหมายถึงด้านอื่นๆ ของชีวิตมนุษย์ด้วย ฮาลาลมีสี่ประเภทซึ่งแตกต่างจากผู้ติดตามอิสลาม
ในทางศาสนา ฮะรอม ตามอัลกุรอาน แบ่งได้เป็น 5 ข้อ ดังนี้
- การกระทำ เช่น การแช่ง, การผิดประเวณี, ฆาตกรรม และไม่ให้เกียรติพ่อแม่ของตน
- นโยบาย เช่น ริบา (กินดอก, ดอกเบี้ย)
- อาหารและเครื่องดื่มบางชนิด เช่น เนื้อหมูและแอลกอฮอล์
- วัตถุ อาหาร การกระทำ ที่ฮะลาลไม่บ่อยครั้ง ก็ถือว่าเป็นฮะรอมในบางสถานการณ์ เช่น อาหารและเครื่องดื่มฮะลาลในช่วงเราะมะฎอน หรือวัวและสัตว์อื่น ๆ ที่ฮะลาล ไม่ได้ถูกเชือดตามวิถีอิสลาม
- การไม่ทำบางอย่าง เช่นไม่ละหมาด
ศาสนาอิสลามไม่ได้ห้ามในการสูบบุหรี่ไฟฟ้า หรือ พอตไฟฟ้า แต่ห้ามสิ่งเสพติด และของมึนเมาที่ทำลายความทรงจำเป็นอันตรายต่อระบบประสาทและสอง เช่น กัญชา ฝิ่น มอร์ฟีน โคเค เฮโลอีน แอมเฟตามีน แอลเอสดี ยาบ้า ยาอี สุรา เป็นต้น ในปัจจุบันก็ยังมีการถกเถียงกันอยู่ว่าบุหรี่ไฟฟ้าจะเป็นที่ต้องห้ามหรือไม่ เพราะยังไม่มีข้อสรุปอันเป็นที่สิ้นสุดบางกลุ่มก็ว่าเป็นสิ่งต้องห้าม บางกลุ่มก็ว่าเป็นสิ่งต้องห้าม ทั้งนี้นั้นคงต้องรอฟังแถลงการณ์จากนักวิชาการของชาวมุสลิมว่ามีแถวโน้มไปในทิศทางใด แต่ตอนนี้จากข้อมูลเบื้องต้นสามารถสรุปอย่างไม่เป็นทางการได้ดังนี้
สรุปแล้วบุหรี่ไฟฟ้าชาวอิสลามสูบได้ไหม ?
กล่าวโดยสรุปเกี่ยวกับชาวอิสลามสูบบุหรี่ไฟฟ้ายังไม่หรือ ปัจจุบันยังไม่มีการห้ามการสูบบุหรี่ไฟฟ้า เพราะตัดสินบนพื้นฐานที่ว่า
- ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานที่บ่งชี้เฉพาะแน่ชัดเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ไฟฟ้าและระบุว่ามันเป็นสิ่งต้องห้าม (ฮะรอม)
- ไม่มีหลักฐาน (ในขณะนั้น) ชี้แน่ชัดว่าบุหรี่ไฟฟ้าเป็นพิษต่อร่างกายหรือไม่ มีผลทางระบบประสาทและสมองหรือไม่
ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของตัวบุคคล ว่าจะเลือกสูบบุหรี่ไฟฟ้าหรือไม่ สูบและไม่สูบด้วยเหตุผลอันใด จนกว่าจะมีข้อสรุปที่แน่ชัดปรากฎขึ้นในอนาคต